Welcome to my blogger



วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ควอร์ไทล์  เดไซล์  และ  เปอร์เซ็นต์ไทล์



ถ้านำข้อมูลมาเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก
     ควอร์ไทล์             แบ่งข้อมูล ออกเป็น 4      ส่วนด้วยจุด 3 จุด  จึงมี  
     เดไซล์                 แบ่งข้อมูล ออกเป็น 10    ส่วนด้วยจุด 9 จุด  จึงมี  
     เปอร์เซ็นต์ไทล์      แบ่งข้อมูล ออกเป็น 100  ส่วนด้วยจุด 99 จุด จึงมี  
เช่น     หมายความว่า มีค่าน้อยกว่าค่านี้ อยู่ 8 ส่วน ใน 10 ส่วน

ตำแหน่งของ ควอร์ไทล์  เดไซล์  และ  เปอร์เซ็นต์ไทล์
  • กรณีข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
      ถ้าข้อมูลมีจำนวนทั้งหมด N แล้ว
                                            
                    หมายเหตุ**  ถ้าข้อมูลมีจำนวน N น้อย ไม่นิยมหาค่า  เปอร์เซ็นต์ไทล์
  • กรณีข้อมูลที่แจกแจงความถี่
      ถ้าข้อมูลมีจำนวนทั้งหมด N แล้ว
                                            
หลังจากที่หาตำแหน่งได้  ต่อไปก็เป็นการหาค่าของแต่ละอย่าง  ซึ่งทำได้ 2 วิธี คือ
1. โดยการคำนวณ
2. โดยการใช้กราฟ
การคำนวณ
  • กรณีที่ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
    หลังจากที่ทราบตำแหน่ง และ เรียงข้อมูลแล้ว เราก็จะรู้ว่าค่าที่ต้องการอยู่ตำแหน่งอะไร  เช่น  ข้อมูลชุดหนึ่งมีดังนี้     2,6,18,25,32,64
        ตัวที่ 2.75 ซึ่งก็คืออยู่ระหว่างตัวที่ 2 และ 3 หรือค่า 6 กับ  18 นั่นเอง
                           ตัวที่ 3.5 ซึ่งก็คืออยู่ระหว่างตัวที่ 3 และ 4 หรือค่าที่ 18 กับ 25 นั่นเอง
                         ตัวที่ 5.25 ซึ่งก็คืออยู่ระหว่างตัวที่ 5 และ 6 หรือค่า 32 กับ 64 นั่นเอง
                    จากนั้นให้ทำการเทียบ  ว่าตำแหน่งห่างกันเท่าไร  แล้วค่าจะห่างกันเท่าไร  เช่น  ถ้าต้องการหา   จะได้ว่า
                         จากข้อมูลจริง         ตัวที่ 2 และ 3 ซึ่งห่างกัน 1 ตำแหน่ง แล้วค่าของข้อมูลตางกัน 18 – 6 =12
                         แต่ต้องการตัวที่ 2.75 ดังนี้ ตัวที่ 2 และ 2.75 ซึ่งห่างกัน 0.75 ตำแหน่ง แล้วค่าของข้อมูลต่างกัน
                                                                       

                         ดังนั้น ตัวที่ 2.75 มีค่าเท่ากับ  6 + 9 = 15  (เทียบจากตัวที่ 2 นั่นเอง) หรือ
  

กรณีที่ข้อมูลแจกแจงความถี่และเขียนเป็นอันตรภาคชั้น
     - ค่าขอบบนของอันตรภาคชั้นนั้นจะ   คือร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์ของ อันตรภาคชั้นนั้น
เช่น   ถ้า     อันตรภาค                   ร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์
                 65 – 69                                     35
                 70 – 74                                     56
                 
     - ใช้สูตร
                 
     โดยที่ L คือ  ขอบล่างของชั้นที่   ตกอยู่
        คือ  ผลรวมของความถี่ของชั้นที่ต่ำกว่าชั้นที่   อยู่
        คือ  ผลรวมของความถี่ของชั้นที่ต่ำกว่าชั้นที่  อยู่ + ความถี่ของชั้นที่   อยู่
         คือ  ความถี่ของชั้นที่   อยู่
              คือ  ความกว้างของอันตรภาคชั้น ซึ่งต้องเท่ากันทุกชั้น
กรณีสูตรอื่นๆ ก็เหมือนกัน เพียงแต่เปลี่ยนตำแหน่งจาก   เป็นอื่นๆ ตามแบบของมัน
โดยการใช้กราฟ1. เขียนโค้งความถี่สะสมหรือโอจีฟ
2. หาตำแหน่งของควอไทล์ เดไซล์ หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ต้องการหา
3. ลากจากแกนตั้ง ซึ่งเป็นแกนของความถี่สะสม ซึ่งตรงกับตำแหน่งที่ต้องการทราบมาตัดกับโค้งโอจีฟ แล้วโปรเจ็คลงมาบนแกนนอน ซึ่งเป็นแกนของข้อมูล ก็จะทราบค่านั้น
หมายเหตุ**   กรณีที่ข้อมูลเป็นอันตรภาคชั้น  ค่าในแต่ชั้นจะถูกครอบคลุมด้วย  ค่าของขอบบนกับ   
                    ขอบล่าง  เช่น  20 – 29, 30 – 39  หมายความว่า ค่าจริงๆอยู่ระหว่าง 19.5 และ
                    29.5 – 39.5  เป็นต้น

วันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2555

Sorrawee Akaradejruangnam

วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

Factorial

    นิยาม เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก แฟกทอเรียล n หมายถึงผลคูณของจำนวนเต็มบวกตั้งแต่ 1 ถึง n เขียนแทนด้วย n!
จากนิยาม n! = n(n-1)(n-2)(n-3) . . . 3 X 2 X 1
หรือ n! = 1 X 2 X 3 X . . . (n-3) )(n-2)(n-1)( n)
ตัวอย่างเช่น   10! = 10x9x8x7x6x5x4x3x2x1
(n+5)! = (n+5)(n+4)(n+3)(n+2)(n+1)
จากนิยามของ n! กล่าวถึงเฉพาะ n ที่เป็นจำนวนเต็มบวก แต่บางครั้งจำเป็นต้องใช้ 0!
จึงต้องกำหนดค่าไว้ โดยให้ 0! = 1
อ้างอิงจากhttp://www.thaigoodview.com

เว็บไซต์การศึกษา

ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา - http://www.ceted.org/cet_media ให้บริการสำเนาสื่อสารการศึกษา รายการโทรทัศน์และวิทยุ ที่ศูนย์ผลิตเป็นวีดิทัศน์ วีซีดี
เอ็ดดูเคชั่น ไลน์ - http://www.educationline.net/
บริการให้ข้อมูลทางการศึกษาเกี่ยวกับ ความรู้ความเข้าใจของเนื้อหาของบทเรียนต่าง ๆ
เอ็ดดูโซนดอทคอม - http://www.eduxone.com
ให้บริการระบบบริหารงานโรงเรียนและสถานศึกษา ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ด้วยเทคโนโลยี ASP
ไทยแลนด์สคูลดอทเนท - http://www.thailandschool.net
ศูนย์รวมเว็บไซต์และข้อมูลด้านการศึกษา และรวบรวมเว็บไซต์โรงเรียนในประเทศไทย
สืบค้นจาก  www.serithai.com/Education